โลโก้เว็บไซต์ มาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ | สถาบันวิจัยและพัฒนา

มาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์


1. รายชื่อคณะกรรมการ

2. ประกาศ พรบ.และ กฎหมายที่เกี่ยงข้อง

      - กฎนูเรมเบิร์ก

      - นโยบายแห่งชาติและแนวทางปฏิบัติการวิจัยในมนุษย์ ฉบับ พ.ศ.2558

      - แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1

     -  ปฏิญญาเฮลซิงกิ ค.ศ.2008

     -  ประกาศ กพอ. หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่ง

     -  มาตรฐานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ พ.ศ. 2560

     -  รายงานเบลมองต์

3. เอกสารเผยแพร่การขอการรับรองจริยธรรมในมนุษย์

  1. แบบฟอร์มการขอรับรองด้านจริยธรรมในมุนษย์

        1.1 แบบฟอร์มการขอรับรองด้านจริยธรรมอาจารย์ - บุคลากร v3 01

         1.2 แบบฟอร์อมการขอรับรองจริยธรรม-นักศึกษา 

     2. ตัวอย่าง แบบข้อเสนอโครงการวิจัยตัวอย่าง ประวัติหัวหน้าโครงการวิจัย

     3. ตัวอย่าง เอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย

     4. ตัวอย่าง แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์

     5. ตัวอย่าง แบบหนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมการวิจัย 18/4/2566

     6. ตัวอย่าง เอกสารผ่านการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 

        6.1 หลักฐานการอบรมต้องยังไม่หมดอายุและผ่านการอบรมมาไม่เกิน 3 ปี 

        6.2 ตั้งแต่ วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นไป จะต้องแนบใบประกาศนียบัตรที่ผ่านการอบรมจากสถาบันที่ได้การรับรอง ตามข้อ 6.3 

        6.3 รายชื่อสถาบันที่ได้รับการรับรองให้สามารถออกใบประกาศนียบัตร  ช่องทางการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (ออนไลน์) ดังนี้ 

     จริยธรรมการวิจัยในคน Human Subject Protection (HSP) ของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  • https://elearning-necast.nrct.go.th
  • เพื่อศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนด้วยตนเอง มีจำนวนทั้งหมด 14 บทเรียน 14 แบบทดสอบ 407นาที
     จริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (MU-HSR Online Training)
  • https://mucerr-online-training.mahidol.ac.th/ 
  • เพื่อศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคนด้วยตนเอง และสามารถนำใบประกาศนียบัตรไปประกอบการยื่นขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมการวิจัยในคนได้ 
      จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น | Basic Human Subject Protection Course NU ของ ThaiMOOC 
  •  https://lms.thaimooc.org
  • หลักสูตรนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และเมื่อผู้เรียนได้ใบประกาศนียบัตรสามารถนำไปใช้ประกอบการยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโครงการวิจัยได้
         จริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • http://www.medtu.org/GCP
  • มีเนื้อหาให้ศึกษาก่อนทำแบบสอบถามออนไลน์ เมื่อทำข้อสอบผ่านจะได้รับใบประกาศนียบัตร
         CITI Program
  • https://about.citiprogram.org
  • เป็นโปรแกรมออนไลน์สำหรับอบรมด้านการปฏิบัติการทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) ประกอบด้วยเนื้อหาครอบคลุม การวิจัยด้านต่าง ๆ ได้แก่ Good Laboratory Practice (GLP), Animal Care and Use (ACU), Biosafety and Biosecurity (BSS), Good Clinical Practice (GCP), Information Privacy and Security (IPS), Responsible Conduct of Research (RCR), Conflicts of Interest (COI), Human Subjects Research (HSR) เป็นต้น
         หลักสูตรนานาชาติ NDAT CTN
  • https://gcp.nidatraining.org
  •  เป็นหลักสูตรที่เตรียมนักวิจัยที่เน้นการทำวิจัยในแบบ RCT ตามหลักการ ICH GCP และกฎระเบียบของ the Code of Federal Regulations (CFR) สำหรับการวิจัยทางคลินิกในสหรัฐฯ
         Protecting Human Research Participants; PHRP course
  • http://phrp.nihtraining.com/
  • เป็นหลักสูตรที่ออกแบบโดย National Institutes of Health (NIH) : เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ หลักสูตรมีเนื้อหาให้ผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเอง เกี่ยวกับแนวความคิดพื้นฐานและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องสิทธิและสวัสดิภาพของอาสาสมัครผู้เข้าร่วมการวิจัย

     7. ขั้นตอนการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์


ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา